ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


dot


 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 





จำเป็นต้องระบุเรื่อง ค่าชดเชยและสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าในหนังสือเลิกจ้างหรือไม่ ?icon

การไม่อนุมัติให้ลาออก กับ สิทธิในเงินบำเหน็จicon

ระเบียบข้อบังคับที่เกิดจากประเพณีการทำงานicon

เงินประจำตำแหน่ง กับ ปัญหาที่ติดตามมา ?icon

ค่าตกใจ กับ ลูกจ้างรายวันicon

อายุงานกับการปิดงานและนัดหยุดงานicon




ความแตกต่างระหว่างมาตรา 31 วรรคหนึ่งกับมาตรา 121 (1)icon

ความแตกต่างระหว่างมาตรา 31 วรรคหนึ่งกับมาตรา 121(1)


More...





เกษียณอายุ กับ การบอกกล่าวล่วงหน้าicon

ก่อนรับเข้าทำงาน เวลาสัมภาษณ์ก็บอกแล้วว่าบริษัทนี้เกษียณอายุที่ 60 ปี (ครับ) ในสัญญาจ้างแรงงานก็บอกว่าเกษียณอายุที่ 60 ปี (อ่านแล้ว) วันแรกที่เข้าทำงานก็รู้วันสุดท้ายของการทำงาน  (ใช่) ในระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานก็ยังเขียนว่า ให้ลูกจ้างเกษียณอายุที่ 60 ปี (ไม่ต้องย้ำ) เมื่อถึงเวลาจะเกษียณเข้าจริงๆกลับไม่ราบรื่น ลูกจ้างถามว่า ไม่บอกกล่าวล่วงหน้าผมสักหน่อยหรือครับ ? (นายจ้างอึ้งไปเลย)

 


More...
dot
ลิขสิทธิ์ กับ ลูกจ้างผู้รับเหมาแรงงานicon

กฎหมายลิขสิทธิ์บอกว่า ลิขสิทธิ์ในผลงานสร้างสรรค์ของลูกจ้างระหว่างทำงานให้นายจ้างให้ตกเป็นของลูกจ้าง นั้นหมายความว่า นายจ้างมีสิทธิใช้ผลงานของลูกจ้างได้ตราบเท่าที่ยังเป็นนายจ้างลูกจ้างกันอยู่ หากความเป็นนายจ้างสิ้นสุดลงเมื่อใด เมื่อนั้นก็ให้ระวังตัวไว้ เพราะจะใช้ได้ต่อไปเพียงเท่าที่ลูกจ้างยินยอมเท่านั้น หากลูกจ้างไม่ยินยอมแล้วยังขืนดื้อใช้ต่อไปจะมีโทษอาญา (กลัวไหม ?)


More...
dot
หลักการแสดงเจตนา กับ การเจรจาข้อเรียกร้องicon

ลูกจ้างยื่นข้อเรียกร้องต่อนายจ้างเจรจากันเองอย่างไรก็ไม่ยุติ (ไม่ปล่อยวาง) ในต้นเดือนมีนาคมพนักงานประนอมข้อพิพาทเข้ามาไกล่เกลี่ย (เขย่าไปเขย่ามา) นายจ้างเลยยอมรับข้อเรียกร้องของลูกจ้าง 2 ข้อ (นอกนั้นไม่เอา)  และทำบันทึกลงชื่อไว้ต่อหน้าพนักงานประนอม ฝ่ายลูกจ้างก็พอใจ (แอบยิ้มอยู่ในใจ) แต่ไม่ยอมลงชื่อ (จะเอาข้ออื่นๆด้วย) เรื่องเลยไม่จบ นายจ้างลงชื่อฝ่ายเดียว (เลยเดินเหนียมๆกลับบ้านไป) ปล่อยให้ฝ่ายลูกจ้างนั่ง (ตบยุง) อยู่กับพนักงานประนอมสองฝ่าย ต่างคนต่างมองหน้ากันแล้วคิดในใจว่า (จะเอาอย่างไงดี) ?


More...
dot
การปรับค่าจ้างย้อนหลัง กับ ดอกเบี้ยicon

การปรับขึ้นค่าจ้างประจำปีเป็นอำนาจบริหารของนายจ้าง (ใครอย่าแตะ) แต่ลูกจ้างไม่ได้คิดอย่างนายจ้าง (ข้าฯจะแตะ) จึงมีบ่อยครั้งที่นายจ้าง (จำใจ) ต้องทำข้อตกลงกับลูกจ้างเกี่ยวกับการปรับขึ้นค่าจ้างประจำปีว่า จำนวนเงินที่ปรับขึ้นจะพิจารณาร่วมกันตกลงกันได้เมื่อใดจะปรับย้อนหลังให้ (จะกี่เดือนก็ช่างเถอะ)


More...
dot
ลูกจ้างทำหนังสือรับสภาพหนี้ให้นายจ้าง โดยมีผู้ค้ำประกันคนใหม่ยอมรับผิด ผู้ค้ำประกันคนเก่าพ้นความรับผิดหรือไม่ ?icon

เมื่อครั้งที่รับลูกจ้างเข้าทำงาน ลูกจ้างต้องเก็บเงินจากลูกค้าจำนวนมาก (ดูท่าทางลูกจ้างจะขี้ลืม) นายจ้างกลัวลูกจ้างลืมนำเงินที่เก็บมาแล้วส่งต่อให้นายจ้าง กลัวลูกจ้างเผลอคิดว่า เงินเป็นของตัวเอง แล้วเอาไปใช้อย่างสบายใจ เลยให้ลูกจ้างหาผู้ค้ำประกันการทำงาน ลูกจ้างก็จัดหาผู้ค้ำเกรดเอมาให้นายจ้าง (เลยได้ทำงานสมใจอยาก) พอทำไปนานๆอาการลืมก็เกิดขึ้น โดยลูกจ้างเข้าใจว่า เงินที่เก็บจากลูกค้าเป็นของตนเลยเอาไปใช้เสียจริงๆ เมื่อนึกได้ว่า เงินนั้นมิใช่ของตนก็เผลอใช้ไปตั้งเยอะแล้ว (ตายละ) คราวนี้จะทำอย่างไรดี คิดอย่างไรก็คิดไม่ตก แต่ด้วยความที่ทางบ้านสอนมาดี ลูกจ้างเลยไปรับสารภาพกับนายจ้าง นายจ้างก็ใจดี ให้ลูกจ้างทำหนังสือรับสภาพหนี้ไว้ โดยระบุว่า ลูกจ้างได้ชำระเงินที่เอาไปให้นายจ้างบางส่วนในวันทำหนังสือรับสภาพหนี้ แล้วจะชำระที่เหลืออีกบางส่วนในวันพรุ่งนี้ เหลือเท่าใดจะผ่อนชำระจนหมด ว่าแล้วลูกจ้างก็หาผู้ค้ำประกันคนใหม่เข้ามาค้ำประกันหนี้ตามหนังสือรับสภาพหนี้

 


More...
dot




นายจ้างหักภาษีเงินได้ไม่ถูกต้อง ลูกจ้างต้องรับผิดเพียงใด ?

เงินที่นายจ้างจ่ายให้กับลูกจ้างอันเนื่องมาจากสัญญาจ้างแรงงาน ไม่ว่าจะเป็น ค่าจ้าง เงินเดือน เบี้ยเลี้ยง โบนัส บำเหน็จ หรือเงินอื่นๆก็ตาม  กฎหมายกำหนดให้นายจ้างมีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายไว้ทุกครั้ง ตามจำนวนที่กำหนดไว้ในหลักเกณฑ์ของมาตรา 50 (1) แล้วนำส่งกรมสรรพากรภายใน 7 วัน นับแต่วันที่จ่ายเงินดังกล่าวออกไป ลำพังเพียงเงินใดบ้างที่ถือเป็นเงินได้อันเนื่องจากสัญญาจ้างแรงงานต้องนำมาคำนวณภาษีเงินได้หรือไม่ ก็มีความยุ่งยากมากแล้ว ประกอบกับวิธีการหักก็ยุ่งยากไม่แพ้กัน จึงเป็นไปได้ที่นายจ้างจะมิได้หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายไว้ หรือหักไว้แต่ไม่ถูกต้อง หากเป็นเช่นนี้ กฎหมายกำหนดให้นายจ้างต้องรับผิดจ่ายเงินภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายพร้อมด้วยเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม


More...
การเกษียณอายุก่อนกำหนด กับ สิทธิในการยกเว้นภาษีเงินได้จากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

เงินได้จากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่ลูกจ้างได้รับเนื่องจากการเกษียณอายุนั้น ประมวลรัษฎากรกำหนดให้ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา  โดยมีหลักเกณฑ์ คือ ลูกจ้างต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 55 ปี บริบูรณ์ เข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือ เข้าเป็นสมาชิกในระหว่างวันที่ 13 กันยายน 2537 ถึง วันที่ 2 ธันวาคม 2543 ซึ่งมีระยะเวลาทำงานให้แก่นายจ้างก่อนเกษียณอายุไม่น้อยกว่า 5 ปี

 

            ปัญหามีอยู่ว่า การเกษียณอายุก่อนกำหนดนั้น จะนำหลักการตามประมวลรัษฎากรที่กำหนดกรณีเกษียณอายุไว้มาใช้ เพื่อการยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีเงินได้จากเงินที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้หรือไม่ ?


More...

ห้องรับแขก นักกฎหมายแรงงาน

กฎหมายวิธีพิจารณาคดีแรงงาน
การบรรยายฟ้อง ละเมิด กับ ผิดสัญญาจ้างicon

 

            ละเมิด กับ ผิดสัญญาจ้าง แท้จริงแล้วไม่เหมือนกัน ทั้งๆที่เกิดขึ้นพร้อมๆกัน ถ้าเช่นนั้น ต่างกันอย่างไร ?

            ละเมิด คือ การทำผิดกฎหมาย ส่วนผิดสัญญาจ้าง คือ การทำผิดข้อตกลง การทำผิดข้อตกลงอาจไม่เป็นการทำผิดกฎหมายเสมอไป ส่วนการทำผิดกฎหมายถือเป็นการทำผิดข้อตกลงด้วยเสมอไป ดังนั้น หากฟังว่า ลูกจ้างกระทำละเมิดต่อนายจ้าง ย่อมต้องฟังว่า ลูกจ้างกระทำผิดสัญญาจ้างต่อนายจ้างด้วยเสมอ 

 


More...
เหตุตามหนังสือเลิกจ้าง กับ การพิจารณาคดีicon

            มีคดีเรื่องหนึ่งนายจ้างต่อสู้คดีว่า เลิกจ้างลูกจ้างไม่มาทำงานเมื่อวันที่ 22 และ 26 มีนาคม 2547 แล้วแก้ไขข้อมูลว่ามาทำงานเป็นเหตุให้นายจ้างต้องจ่ายค่าอาหาร 2 วัน เป็นเงิน 20 บาท เป็นการทุจริต แต่ศาลแรงงานกลางฟังข้อเท็จจริงว่า ลูกจ้างไม่มาทำงานเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2547 แต่แก้ไขข้อมูลว่ามาทำงานในวันดังกล่าว 


More...
บอกกล่าวล่วงหน้า กับ เลิกจ้างไม่เป็นธรรมicon

ศาลพิพากษาในประเด็นสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าว่า นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า เนื่องจาก ลูกจ้างบกพร่องต่อหน้าที่โดยไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของนายจ้าง ดังนั้น นายจ้างจึงไม่ต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า แล้วอย่างนี้ ศาลจะพิพากษาในประเด็นเลิกจ้างไม่เป็นธรรม อย่างไร ? 


More...
เกษียณอายุ กับ การเลิกจ้างไม่เป็นธรรมicon

นายจ้างมักกำหนดในระเบียบให้ลูกจ้างต้องพ้นสภาพการเป็นพนักงานเมื่อมีอายุครบตามที่กำหนด โดยทั่วไปขั้นต่ำก็อยู่ที่ 50 ปี ขั้นสูงอยู่ที่ 60 ปี การพ้นสภาพด้วยเหตุอายุมากแล้วเช่นนี้ถือเป็นการเลิกจ้างเช่นกัน แม้จะเรียกกันโดยคุ้นเคยว่า เกษียณอายุ ก็ตาม


More...
การรับข้อเท็จจริงในศาลแรงงานicon

การดำเนินกระบวนพิจารณาในคดีแพ่งนั้น อาจเป็นไปได้ที่ศาลจะใช้วิธีให้คู่ความรับข้อเท็จจริงต่อกัน หากศาลเห็นว่า ข้อเท็จจริงเพียงพอต่อการวินิจฉัยคดีแล้วศาลจะสั่งงดสืบพยานหรือคู่ความอาจแถลงงดสืบพยานก็ได้แล้วให้ศาลชี้ขาดคดีไปตามข้อเท็จจริงที่รับกัน  

 

More...
Copyright © 2010 All Rights Reserved.