My Insomnia "ผมจะเป็นอะไรมากไหม?"
คือนิยายแรงงานเรื่องล่าสุดที่นำเสนอชีวิตผู้คนในแวดวงแรงงาน
ซึ่งสะท้อนให้เห็นจิตใจทั้งสองด้านของคน
ที่คนอ่านเองอาจหลงคิดว่านี่เขียนจากชีวิตเราเอง
โปรดทราบ
นิยายเรื่องนี้แต่งขึ้นในช่วงวิกฤตโควิต-19
มีทั้งหมด 8 ฉาก
ขอนำเสนอเป็นระยะตามวาระที่เหมาะสม
โปรดติดตาม
|
| ความแตกต่างระหว่างมาตรา 31 วรรคหนึ่งกับมาตรา 121 (1)
ความแตกต่างระหว่างมาตรา 31 วรรคหนึ่งกับมาตรา 121(1) More... |
|
นายจ้างหักภาษีเงินได้ไม่ถูกต้อง ลูกจ้างต้องรับผิดเพียงใด ?
เงินที่นายจ้างจ่ายให้กับลูกจ้างอันเนื่องมาจากสัญญาจ้างแรงงาน ไม่ว่าจะเป็น ค่าจ้าง เงินเดือน เบี้ยเลี้ยง โบนัส บำเหน็จ หรือเงินอื่นๆก็ตาม กฎหมายกำหนดให้นายจ้างมีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายไว้ทุกครั้ง ตามจำนวนที่กำหนดไว้ในหลักเกณฑ์ของมาตรา 50 (1) แล้วนำส่งกรมสรรพากรภายใน 7 วัน นับแต่วันที่จ่ายเงินดังกล่าวออกไป ลำพังเพียงเงินใดบ้างที่ถือเป็นเงินได้อันเนื่องจากสัญญาจ้างแรงงานต้องนำมาคำนวณภาษีเงินได้หรือไม่ ก็มีความยุ่งยากมากแล้ว ประกอบกับวิธีการหักก็ยุ่งยากไม่แพ้กัน จึงเป็นไปได้ที่นายจ้างจะมิได้หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายไว้ หรือหักไว้แต่ไม่ถูกต้อง หากเป็นเช่นนี้ กฎหมายกำหนดให้นายจ้างต้องรับผิดจ่ายเงินภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายพร้อมด้วยเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม More... | | การเกษียณอายุก่อนกำหนด กับ สิทธิในการยกเว้นภาษีเงินได้จากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
เงินได้จากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่ลูกจ้างได้รับเนื่องจากการเกษียณอายุนั้น ประมวลรัษฎากรกำหนดให้ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยมีหลักเกณฑ์ คือ ลูกจ้างต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 55 ปี บริบูรณ์ เข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือ เข้าเป็นสมาชิกในระหว่างวันที่ 13 กันยายน 2537 ถึง วันที่ 2 ธันวาคม 2543 ซึ่งมีระยะเวลาทำงานให้แก่นายจ้างก่อนเกษียณอายุไม่น้อยกว่า 5 ปี
ปัญหามีอยู่ว่า การเกษียณอายุก่อนกำหนดนั้น จะนำหลักการตามประมวลรัษฎากรที่กำหนดกรณีเกษียณอายุไว้มาใช้ เพื่อการยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีเงินได้จากเงินที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้หรือไม่ ? More... | |
|